โครงการพัฒนาและทดสอบความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ ระดับประเทศ ประจำปี 1/2568

Posted by Mathiphic on February 15, 2025
  1. รายละเอียดทั่วไป

    กำหนดการสอบ: วันอาทิตย์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2568 ณ อาคารพระจอมเกล้า (SC08) คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร

    ผู้มีสิทธิ์เข้ารอบ: ผู้ที่มีผลคะแนนสอบรอบคัดเลือกตัวแทนภูมิภาคตั้งแต่ 50% ขึ้นไป (20 คะแนน เต็ม 40)

    ***อัตราค่าลงทะเบียน 350 บาท กรุณายืนยันสิทธิ์ภายใน 18 กุมภาพันธ์ 2568***
    ยืนยันสิทธิ์ได้ที่ : https://forms.gle/kGFdCstAdSbmevJo6

    กรุณาเตรียมเครื่องคิดเลขเพื่อเข้าสอบ และแต่งกายด้วยชุดนักเรียน

  2. รายวิชาที่เปิดสอบ | เลือกวิชาที่ต้องการทดสอบได้ 1 วิชา
    1. การแข่งขันและทดสอบความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ |ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและปวช.
    2. คณิตศาสตร์เชิงวิศวกรรมศาสตร์ |ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและปวช.
    3. เคมีเชิงวิศวกรรมศาสตร์ |ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและปวช.
    4. ฟิสิกส์เชิงวิศวกรรมศาสตร์ |ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและปวช.
  3. เกณฑ์การได้รับรางวัล |ผู้เข้าร่วมทุกคนได้รับเกียรติบัตรบนเวที
    เกียรติบัตรรับรองโดย ผศ.ดร. ขวัญจิรา แก้วแฝก
    เกียรติบัตรมอบโดย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร

    1. ชนะเลิศ (ลำดับที่ 1) ถ้วยรางวัล เหรียญทอง พร้อมใบเกียรติบัตร
    2. รองชนะเลิศอันดับ 1 (ลำดับที่ 2) เหรียญเงิน พร้อมใบเกียรติบัตร
    3. รองชนะเลิศอันดับ 2 (ลำดับที่ 3) เหรียญทองแดง อันดับ 1 พร้อมใบเกียรติบัตร
    4. รองชนะเลิศอันดับ 3 (ลำดับที่ 4) เหรียญทองแดง อันดับ 2 พร้อมใบเกียรติบัตร
    5. รองชนะเลิศอันดับ 4 (ลำดับที่ 5) เหรียญทองแดง อันดับ 3พร้อมใบเกียรติบัตร
  4. โครงสร้างข้อสอบ | บทความวิชาการ (Article) ภาษาอังกฤษ จำนวน 2 บทความ
    ข้อสอบนี้ไม่มีส่วนคล้ายคลึงกับรอบภูมิภาค แต่เป็นข้อสอบด้านบทความงานวิจัย โดยเป็นข้อสอบมาตรฐานเดียวกันกับประเทศอื่นๆ ที่เข้าแข่งขัน
    ซึ่งเป็นการส่งนักเรียนที่สมัครกับบริษัท แมทธิฟิค เอ็ดดูเคชั่น จำกัด เข้าร่วมการแข่งขันที่จัดโดยบริษัท เทค อินฟินิตี้ อีดูเคชั่น จำกัด
    PART 1: ทักษะนวัตกรรมด้านวิศวกรรม (Innovative Engineering Skills)
    PART 2: การคิดเชิงวิเคราะห์ทางวิศวกรรม (Critical Engineering Thinking) การวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางวิศวกรรมจากกรณีศึกษา
    PART 3: ความรู้ทางวิศวกรรมและการประยุกต์ (Engineering Knowledge and Applications) การใช้ความรู้พื้นฐาน เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
    ***แนะนำให้ผู้เข้าสอบศึกษาและทำความเข้าใจมาก่อนการทดสอบ ทั้งนี้ ศูนย์การทดสอบเตรียมบทความไว้เพื่อเป็นเอกสารประกอบการสอบไว้ให้ด้วย บทความละ 1 ชุด***
  5. ขอบเขตการออกสอบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
    ผู้เข้าสอบสามารถ คลิก ที่บทความเพื่อศึกษาข้อมูล
    1. การแข่งขันความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์  (Middle School Engineering Aptitude Competition)
      - Biomaterials for cardiovascular diseases – ScienceDirect
      - Nanomaterials for wound healing: Current status and futuristic frontier – ScienceDirect
  6. ขอบเขตการออกสอบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและปวช.
    ผู้เข้าสอบสามารถ คลิก ที่บทความเพื่อศึกษาข้อมูล 
    1. การแข่งขันความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (High School Engineering Aptitude Competition)
      - Application of radical dendrimers as organic radical contrast agents for magnetic resonance imaging – ScienceDirect
      - An approximate method of dynamic amplification factor for alternate load path in redundancy and progressive collapse linear static analysis for steel truss bridges – ScienceDirect
    2. ความถนัดเคมีเชิงวิศวกรรมศาสตร์ | Engineering Chemistry Aptitude
      - An efficient and scalable melt fiber spinning system to improve enzyme-based PET recycling
      - Gallic acid: A promising bioactive agent for food preservation and sustainable packaging development
    3. ความถนัดฟิสิกส์ทางวิศวกรรมศาสตร์ | Engineering Physics Aptitude
      - Effects of electrostatic field-assisted freezing on the functional properties and aggregation behavior of gluten – ScienceDirect
      - Mechanical performance of cold mix asphalt containing cup lump rubber as a sustainable bio-modifier – ScienceDirect
    4. ความถนัดคณิตศาสตร์เชิงวิศวกรรมศาสตร์ | Engineering Mathematics Aptitude
      - GIS-based landslide susceptibility mapping using logistic regression, random forest and decision and regression tree models in Chattogram District, Bangladesh – ScienceDirect
      - Exploratory factor analysis of manure utilization for sustainable dairy farming: Evidence from crop-dairy farming systems in Turkey – ScienceDirect
  7. เลขที่นั่งสอบ
    ตรวจสอบได้ที่ https://drive.google.com/drive/folders/1XViSsrlr-3mZrzzGfr83HViJDYboSi6U?usp=sharing
    กรุณาตรวจสอบ ชื่อ สกุล และ ชื่อโรงเรียน หากไม่ถูกต้อง ติดต่อแอดมินทางไลน์ โดยด่วน
  8. ตัวอย่างกระดาษคำตอบ
    ศึกษาได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1RreDFeLmgLILDSmPsFXhkIRawdFVRkig/view?usp=sharing
  9. กำหนดการ
    ควรเดินทางมาถึงสนามสอบก่อน 1 - 2 ชั่วโมง

เวลา

รายละเอียด

07.30 - 08.35

รายงานตัวผู้เข้าร่วมระดับประเทศ ณ จุดลงทะเบียน บริเวณชั้น 1 (แสดงบัตรประจำตัวประชาชน)

08.35 - 08.45

ผู้เข้าสอบเข้าห้องสอบ 
ผู้ปกครอง/คุณครูพักตามอัธยาศัยบริเวณชั้น 1 

08.50 - 09.30 (40 นาที)

PART1 ทักษะนวัตกรรมด้านวิศวกรรม: จำนวน 10 ข้อ : ข้อสอบกึ่งปรนัย

09.30 - 09.40 (10 นาที)

พักระหว่างส่วนการทดสอบ

09.40 - 10.20 (40 นาที)

PART2 การคิดเชิงวิเคราะห์ทางวิศวกรรม: จำนวน 10 ข้อ : ข้อสอบกึ่งปรนัย

10.20 - 10.30 (10 นาที)

พักระหว่างส่วนการทดสอบ

10.30 - 12.00
(1 ชั่วโมง 30 นาที)

PART3 ความรู้ทางวิศวกรรมและการประยุกต์: จำนวน 20 ข้อ : ข้อสอบปรนัย

12.00

หมดเวลาทำข้อสอบ

12.00 - 13.00

พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย/ที่โรงอาหาร

13.10 - 15.15

พิธีมอบเกียรติบัตร (ผู้เข้าร่วม) ประกาศรางวัลระดับประเทศและพิธีมอบรางวัล โดยปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กทม.
ณ ห้องประชุม ห้อง 211 ชั้น 2

15.15 - 16:30

ถ่ายภาพร่วมกับผู้ปกครอง/คุณครู โดยช่างกล้องมืออาชีพ

15.15 - 16:30

ผู้เข้าสอบที่ยังไม่ได้รับเหรียญรางวัลรอบภูมิภาค
รับเหรียญได้ในงาน ช่วงบ่าย
***เฉพาะผู้สมัครกับแอดมินเท่านั้น
ผู้ที่สมัครกับโรงเรียน เหรียญจะถูกจัดส่งไปที่โรงเรียน

ข้อสอบกึ่งปรนัยหมายถึง คะแนนปรนัย 50% คะแนนเขียนอธิบาย 50% (เขียนภาษาไทยได้)

10. ตัวอย่าง เกียรติบัตร
1. เกียรติบัตรสำหรับผู้ได้รับรางวัล
 

2. เกียรติบัตรสำหรับผู้เข้าร่วมทุกคน

11. รอบคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยและนำเสนอผลงานวิชาการ ระดับประเทศ เพื่อแข่งขันต่อในระดับนานาชาติ ณ  ประเทศญี่ปุ่น

อบรมพัฒนา:  วันที่ 20-22 มีนาคม 2568 ณ โรงแรมบลู ฮิปโป บาย คูณ (Blue Hippo Hotel) กรุงเทพมหานคร
การนําเสนอผลงานวิชาการ: 23 มีนาคม 2568 ณ อาคารกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
ผู้มีสิทธิ์เข้าร่วม: ผู้ได้รับเหรียญรางวัลระดับทอง หรือ เงิน หรือทองแดงในรอบระดับประเทศ

11. รอบการแข่งขันและนำเสนอผลงานวิชาการ ระดับนานาชาติ ณ ประเทศญี่ปุ่น

กำหนดการ: ช่วงมิถุนายน 2568 (5 วัน 4 คืน) ณ ศูนย์การประชุมนานาชาติเกียวโต นครเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น

เกณฑ์การได้รับรางวัล

เหรียญทอง: สำหรับทีมที่ได้รับคะแนนสูงสุด (อันดับ 1)

เหรียญเงิน: สำหรับทีมที่ได้คะแนนอันดับ 2 และ 3

เหรียญทองแดง: สำหรับทีมที่ได้คะแนนอันดับ 4 และ 5

รางวัลชมเชย: สำหรับทีมที่ได้คะแนนอันดับ 6 ถึง 10

 

 


มุมถาม-ตอบ

คำถามที่พบบ่อย

    1. เลือกวิชาที่จะสมัครสอบ (ดูวิชาที่เปิดสอบ)
    2. เพิ่มเพื่อน ไลน์ไอดี : @mathiphic
    3. แจ้งวิชาที่สมัครสอบกับทางแอดมิน และทำการโอนเงินค่าสมัคร
    4. นำรหัสที่ได้มาใช้ในการเข้าสอบ
  • วิธีแก้ไข

    1. สู่ระบบผ่าน Google chrome  หรือ microsoft edge 
    2. แจ้งปัญหาได้ที่ ไลน์ไอดี : @mathiphic
  • กรณีลืมรหัสผ่านได้ที่ ติดต่อที่ ไลน์ไอดี : @mathiphic

  • แจ้งปัญหาการใช้งานได้ที่ ไลน์ไอดี : @mathiphic

  • คู่มือการใช้งานระบบทำข้อสอบ ( กดที่นี่ )